shashankmathur.com

อาหารการกิน เนื่องจากปัจจุบันนั้น วิธีการทานอาหารที่เปลี่ยนไป โดยพฤติกรรมการทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ซึ่งเต็มไปด้วยแป้งและไขมัน อีกทั้งรวมไปถึงเครื่องดื่มแต่ละชนิด ที่มีน้ำตาลมากเกินกว่าที่ร่างกายจะสามารถขจัดให้หมดไปจากร่างกายได้ใน 1 วัน 5. การออกกำลังน้อย ผู้คนในยุคนี้มีการขยับตัวกันน้อยจนเกินไป จนร่างกายมีประสิทธิภาพในการขจัดน้ำตาลได้น้อย เนื่องจากมีกิจกรรมทางกายน้อยจนเกินไป จึงทำให้น้ำตาลถูกสะสมในเลือดได้ง่าย

เบาหวาน รู้ทันป้องกันได้ | โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

ให้อาหารทางปากเด็ดขาด เพราะอาจสำลักลงหลอดลมแนะนำควรส่งโรงพยาบาลใกล่เคียงทันที ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเฉียบพลัน แบ่งเป็น 2 ภาวะ ได้แก่ 1. ภาวะคีโตเอซิโดซิส (Diabetic Ketoacidosis; DKA) คือ ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงที่มีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 250 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ร่วมกับภาวะกรดเมตาบอลิกจากกรดคีโตนคั่งในร่างกาย 2. ภาวะไฮเปอร์ไกลซีมิกไฮเปอร์ออสโมล่าร์ (Hyperosmolar Hyperglycemic State; HHS) คือ ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงที่มีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 60 มิลลิกรัม/เดซิลิตร แต่ไม่มีภาวะกรมเมตาบอลิกจากกรดคีโตนคั่งในร่างกาย ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังของโรคเบาหวาน ได้แก่ 1. ภาวะแทรกซ้อนที่หลอดเลือดขนาดเล็ก เบาหวานขึ้นตา ไตวาย เส้นประสาท ได้แก่ ชาปลายเท้า เจ็บเหมือนถูกเข็มทิ่มแทง 2.

สาเหตุของโรคเบาหวาน เบาหวานเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุด้วยกัน ซึ่งสาเหตุหลักๆ ก็คือการรับประทานน้ำตาลและไขมันในปริมาณที่มากเกินไป ส่งผลให้อินซูลินเกิดความผิดปกติ และนำมาซึ่งอาการป่วยเบาหวานได้ นอกจากนี้ โรคเบาหวานก็ยังมีสาเหตุมาจากสิ่งเหล่านี้อีกด้วย 1. กรรมพันธุ์ สำหรับผู้ที่มีพ่อแม่ ญาติพี่น้อง เป็นเบาหวานมาก่อน ก็อาจจะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานได้เช่นเดียวกัน แต่นั่นก็เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะหากรู้จักดูแลตนเองให้ดี และควบคุมอาหาร โดยหลีกเลี่ยงการรับประทานของหวาน ของมัน คุณก็จะปลอดภัยจากโรคเบาหวานได้มากขึ้น นอกเสียจากว่าจะเป็นโรคเบาหวานมาอยู่แล้วโดยกำเนิด 2. ความอ้วน ร้อยละ 80 ของคนที่เป็นโรคอ้วนส่วนใหญ่มักมีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานค่อนข้างสูง เนื่องจากไขมันส่วนเกินจะทำให้เกิดภาวะดื้ออินซูลิน ประสิทธิภาพในการจัดการกับน้ำตาลและไขมันต่ำลง และเป็นผลให้เกิดโรคเบาหวานได้ในที่สุด 3. ความผิดปกติของตับอ่อน เนื่องจากตับอ่อนจะทำหน้าที่ในการผลิตอินซูลิน ดังนั้นหากตับอ่อนมีการเสื่อมสภาพหรือเกิดความผิดปกติก็ย่อมส่งผลต่อการเกิดโรคเบาหวานได้ด้วย นอกจากนี้ ในคนที่ดื่มเหล้าหรือรับประทานยาที่มีผลต่อตับอ่อนก็จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดเบาหวานได้สูงอย่างมากทีเดียว 4.

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพหลายระบบ ทั้ง ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ สมอง และหลอดเลือดแดง รวมทั้งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต, เศรษฐสังคม(socioeconomic effect) โดยมีการคาดการจาก International diabetes Federationว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้น 366 ล้านคน ในปีค. ศ. 2011 เป็น 552 ล้านคน ในปีค. 2030 สำหรับประเทศไทย พบผู้ป่วยเบาหวาน 3.

สาเหตุ

โรคเบาหวาน คือ อะไร?

ได้ที่นี่เลย! !

อาการ

24 ศูนย์หัวใจเปิดบริการ (24 ชม. ) 50 ระยะทางจาก BTS เอกมัย (เมตร) 71 จำนวนสาขาของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 243 จำนวนห้องพักผู้ป่วยใน ด้วยระบบการดูแลรักษาที่ผสานกัน ความเชี่ยวชาญของแพทย์และเจ้าหน้าที่ ประกอบกับเทคโนโลยีที่พร้อมไปด้วยประสบการณ์ Introducing 15 JCI International standard medical departments with specialize doctors 24/7 that ready to provide extensive care for each and every one of you Browse all departments Variety of health activities held during a past few months. Keep up to date with most concerned health issue that might effect your daily life

  1. ไพ่เท็กซัสเซียนไทย
  2. เหรียญเม็ดแตง หลวงพ่อทวด วัดช้างให้ ปี 2508 เนื้ออัลปาก้าชุบนิเกิ้ล
  3. โรคเบาหวาน (Diabetes) | โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต

Details Written by Thitinun Hits: 350910 โรคเบาหวาน คือ โรคที่เซลล์ร่างกายมีความผิดปกติในขบวนการเปลี่ยนน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงาน โดยขบวนการนี้เกี่ยวข้องกับ อินซูลินซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากตับอ่อนเพื่อใช้ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด เมื่อน้ำตาลไม่ได้ถูกใช้จึงทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นกว่าระดับปกติ โรคเบาหวานแบ่งเป็น 4 ชนิด ตามสาเหตุของการเกิดโรค 1. โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes mellitus, T1DM) เกิดจากเซลล์ตับอ่อนถูกทำลายจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำให้ขาดอินซูลิน มักพบในเด็ก 2. โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes mellitus, T1DM) เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด ร้อยละ 95 ของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด เกิดจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน มักพบในผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วนร่วมด้วย 3. โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes mellitus, GDM) เป็นโรคเบาหวานที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ มักเกิดเมื่อไตรมาส 2-3 ของการตั้งครรภ์ 4. โรคเบาหวานที่มีสาเหตุจำเพาะ (specific types of diabetes due to other causes) มีได้หลายสาเหตุ เช่น โรคทางพันธุกรรม โรคของตับอ่อน โรคทางต่อมไร้ท่อ ยาบางชนิด เป็นต้น โดยการวินิจฉัยเบาหวาน ทำได้โดยวิธีใดวิธีหนึ่งใน 4 วิธี ดังต่อไปนี้ 1.

ทะเล-ใน-ระยอง