shashankmathur.com

ใช้แรงทำเงิน & ให้เงินทำงาน กด Subscribe รอเลย… Facebook | Line | Youtube | Instagram ตลอดเวลาที่ผ่านมา เราจะเห็นสรรพากรพยายามส่งเสริมให้บุคคลธรรมดาที่มีเงินได้มาตรา 40(5)-(8) จดทะเบียนในรูปนิติบุคคล แต่หลายคนก็เลือกที่จะเสียภาษีในรูปบุคคลธรรมดากันอยู่เช่นเดิม เหตุผลหนึ่งก็คือ ถ้าทำธุรกิจในรูปนิติบุคคล จะต้องทำบัญชี มีผู้สอบบัญชี ยุ่งยาก มีค่าใช้จ่าย และหากทำในรูปบุคคลธรรมดาแล้วเลือกหักค่าใช้จ่ายแบบเหมาจ่าย ไม่ต้องทำรายงานเงินสดรับจ่าย แต่นั่นเป็นความเข้าใจที่ผิด!! ไม่ว่าเราจะเลือกหักค่าใช้จ่ายแบบเหมาจ่ายหรือหักค่าใช้จ่ายตามจำเป็นและสมควร ก็ต้องทำรายงานเงินสดรับจ่ายหมด เพราะตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 161) กำหนดให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และมีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(5)-(8) จัดทำบัญชี หรือ รายงานแสดงรายได้และรายจ่าย ประเภทเงินได้ตามมาตรา 40(5)-(8) มีอะไรบ้าง? มาตรการ 40(5): รายได้จากการให้เช่า มาตรการ 40(6): รายได้จากการทำอาชีพอิสระ มาตรการ 40(7): รายได้จากการรับเหมา มาตรการ 40(8): รายได้อื่นๆ ที่ไม่ใช่ 40(1) – 40(7) ซึ่งผู้มีรายได้เหล่านี้ต้องยื่นเสียภาษีกลางปี บุคคลธรรมดาตามกฎหมายกรมสรรพากร ได้แก่ 1.

การจ่ายภาษี บุคคลธรรมดา

ปรึกษากฎหมาย ฟรี: ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย กรณีการขายหุ้นนอกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการเฉลี่ยภาษีซื้อ
  • การจ่ายภาษี บุคคลธรรมดา
  • Yugioh duel link แปล online
  • เสื้อ พระราชทาน แขน สั้น
  • Huawei Mate Xs: ข้อมูลจำเพาะ ราคา รูปภาพ และคุณสมบัติ • Gizmobo
  • ลง ทะเบียน hik connect login
  • สอศ. “สร้างคนดี มีอาชีพ” - กระทรวงศึกษาธิการ

แสดงข้อมูลคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย

การยื่นภาษีเป็นหน้าที่บุคคลธรรมดาผู้มีรายได้ไม่ว่าจะเป็น มนุษย์เงินเดือน พ่อค้าแม่ค้าออนไลน์ ฟรีแลนซ์ ต้องทำเป็นประจำทุกปี แต่มีความเข้าใจผิดคลาดเคลื่อนหลายประการของคนส่วนใหญ่เกี่ยวกับเรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็นภาษีที่จัดเก็บจากบุคคลทั่วไปที่มีรายได้ตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด ซึ่งจัดเก็บเป็นรายปี โดยผู้มีเงินได้ต้องยื่นแบบแสดงรายการในช่วงเดือนมกราคมถึงมีนาคมของปีถัดไป เมื่อถึงเทศกาลที่ต้องยื่นภาษีประจำปี หลายคนยังคงสับสนและเกิดความเข้าใจผิดในเรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา PEAK จึงขอสรุป "8 ความใจผิดเรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา" ให้ทุกคนเข้าใจกันมากขึ้น ดังนี้ 1.

ผู้ที่ไม่สมัครพร้อมเพย์จะไม่ได้คืนภาษี ปัจจุบันกรมสรรพากรไม่มีระบบการคืนภาษีโดยส่งเช็คทางไปรษณีย์แล้ว และมีระบบการคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร โดยผ่านระบบโอนเงินแบบพร้อมเพย์ จึงทำให้หลายคนเข้าใจว่าถ้าไม่ได้สมัครพร้อมเพย์จะไม่ได้คืนภาษี แต่ที่จริงแล้วการรับเงินคืนภาษีนอกจากผ่านระบบพร้อมเพย์ ประชาชนสามารถนำหนังสือแจ้งคืนภาษีที่ได้รับจากกรมสรรพากร ไปติดต่อธนาคารกรุงไทยหรือ ธ. ก. ส. เพื่อนำเงินเข้าบัญชีธนาคารแต่ถ้าไม่ได้เปิดบัญชีไว้กับธนาคารสามารถรับเงินที่ธนาคารกรุงไทยตามระบบที่ธนาคารกำหนดโดยเตรียมหนังสือแจ้งคืนภาษีที่ได้รับจากกรมสรรพากรพร้อมบัตรประจำตัวประชาชนไปติดต่อที่ธนาคารกรุงไทย 5. การหักลดหย่อนดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อหรือสร้างที่อยู่อาศัย ใช้ลดหย่อนได้ตามจำนวน แม้มีผู้ร่วมกันหลายคน มีผู้มีเงินได้หลายคนเข้าใจผิดว่าสามารถนำดอกเบี้ยเงินกู้ยืมค่าที่อยู่อาศัยมาหักลดหย่อนจากผู้มีเงินได้รายหนึ่งรายใดก็ได้ไม่ว่าจะมีผู้กู้ร่วมกี่คนก็ตาม แต่หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อนดอกเบี้ยเงินกู้ยืมค่าที่อยู่อาศัย โดยปกติจะลดหย่อนตามจำนวนเงินที่จ่ายจริงในปีภาษีแต่ไม่เกิน 100, 000 บาท ในกรณีที่มีผู้กู้ร่วมกันหลายคนซึ่งเป็นผู้มีเงินได้ต้องนำจำนวนเงินดอกเบี้ยเงินกู้ยืมมาหารเฉลี่ยตามจำนวนผู้มีเงินได้ที่เป็นผู้กู้ร่วมกัน มิฉะนั้นการคำนวณภาษีของผู้กู้ร่วมแต่ละรายจะไม่ถูกต้อง 6.

ถึงเป็นบุคคลธรรมดาก็ต้องทำ “บัญชีรับ-จ่าย” - Wealth Me Up

บุคคลธรรมดา 2. ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ( รวมถึงวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ. ศ. 2548) 3. ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี 4. กองมรดกที่ยังมิได้แบ่ง จะเห็นว่านิติบุคคล เช่น บริษัท ห้างหุ้นส่วนจำกัด ฯลฯ ไม่เกี่ยว เพราะพวกนิติบุคคลต้องทำบัญชี และต้องมีผู้สอบบัญชีตามกฎหมายอยู่แล้ว ประโยชน์ของการทำ " บัญชีรับ – จ่าย "? 1. ใช้เป็นหลักฐานในการแสดงรายได้ – รายจ่าย เพื่อประกอบการยื่นแบบเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 2. ทำให้ทราบถึงสถานะทางการเงินของกิจการ ผลกำไร – ขาดทุน 3. ใช้วางแผนและควบคุมการบริหารงานภายในของกิจการ 4. ใช้เป็นเอกสารประกอบการยื่นขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินได้ แล้วจะทำรายงานเงินสดรับ – จ่าย ยังไงดี?

หักค่าใช้จ่ายตามจริง และ การหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา - GreedisGoods GreedisGoods มีการเก็บ Cookies เพื่อมอบประสบการณ์ใช้งานที่ดียิ่งขึ้น หากท่านใช้เว็บไซต์ต่อไปโดยไม่ปรับตั้งค่าเราเข้าใจว่าท่านยินยอมที่จะรับคุกกี้ ยินยอม ดูรายละเอียด

ก็จะโดนสรรพากรปรับไม่เกิน 2, 000 บาท ตามมาตรา 35 แห่งประมวลรัษฎากร #WealthMeUp Replica Watches

ประวต-ป-อก-บา