shashankmathur.com

เผยแพร่: 28 ต. ค. 2561 16:37 โดย: นพ นรนารถ ใบ รง. 4 คือ ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงงาน พระราชบัญญัติโรงงาน พ. ศ. 2535 แบ่งโรงงานเป็น 3 ประเภท ประเภทที่ 1 คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรซึ่งมีแรงม้ารวมกัน 5-20 แรงม้า และ/หรือมีคนงาน 7-20 คน ประเภทที่ 2 มีแรงม้าเครื่องจักร 20-50 แรงม้า มีคนงานไม่เกิน 50 คน ประเภทที่ 3 ใช้เครื่องจักร 50 แรงม้าขึ้นไปใช้คนงาน 50 คนขึ้นไป โรงงานแบบที่ 1 และ 2 ถ้าไม่ใช่โรงงานที่ก่อให้เกิดมลพิษ ตั้งโรงงานได้เลย ไม่ต้องขออนุญาต แต่ต้องทำให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์กฎกระทรวง โรงงานแบบที่ 3 ต้องขออนุญาตตั้งโรงงานต่อกรมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม เมื่อได้รับใบอนุญาตซึ่งเรียกว่า ใบ รง. 3 แล้ว ยังต้องขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน คือ ใบ รง. 4 ด้วย จึงจะเปิดโรงงานได้ ใบ รง. 4 มีอายุ 5 ปี เจ้าของโรงงานต้องไปต่ออายุทุกๆ 5 ปี เสียค่าธรรมเนียม 1, 500-60, 000 บาท ขึ้นอยู่กับขนาดเครื่องจักร ปัจจุบันประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมประมาณราวๆ ครึ่งหนึ่ง อยู่ในนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องต่ออายุใบ รง. 4 ที่เหลืออีกประมาณ 60, 000 แห่งไม่ได้อยู่ในนิคม ส่วนใหญ่เป็นโรงงานขนาดกลาง ขนาดเล็ก หรือเอสเอ็มอีต้องต่อใบอนุญาตใบ รง.

  1. ปลดล็อกใบ รง.4 ปลดแอกเอสเอ็มอี
  2. ใบอนุญาต รง.4
  3. ขั้น ตอน

ปลดล็อกใบ รง.4 ปลดแอกเอสเอ็มอี

เชื่อว่าผู้ประกอบการ SME หลายคนที่ดำเนินธุรกิจมาซักระยะหนึ่ง คงมีความคิดอยากตั้งโรงงานผลิตเป็นของตัวเอง เพื่อขยับขยายธุรกิจ หาช่องทางในการสร้างกำไรเพิ่ม ทั้งยังเป็นการลดต้นทุนในการจ้างโรงงานผลิตสินค้า (Outsource) อีกด้วย แต่การจะตั้งโรงงานได้นั้น จำเป็นต้องขออนุญาตให้เป็นเรื่องเป็นราว วันนี้ OfficeMate จึงรวบรวมขั้นตอนการขอ ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หรือ ร. ง. 4 มาฝากชาว SME ที่อยากเปิดโรงงาน แต่ไม่รู้จะเริ่มต้นยังไงดี? ไปอ่านบทความนี้พร้อมๆ กันเลย! ทำไมต้องขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน? เหตุผลที่ต้องขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน หลักๆ แล้ว คือการทำตามกฎหมาย ซึ่งกฎหมายการจัดตั้งโรงงานระบุเอาไว้ว่า โรงงานที่มีเครื่องจักรขนาด 50 แรงม้า หรือโรงงานที่มีคน 50 คนขึ้นไป จะต้องดำเนินการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานตามขั้นตอนและเงื่อนไขที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนดไว้ ทั้งนี้ก็เพื่อควบคุมให้การดำเนินกิจกรรมในโรงงานนั้นไม่เกิดผลเสียต่อสังคมรอบข้าง และไม่เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แต่ถึงอย่างนั้น ก็มีโรงงานบางประเภทที่ได้รับการยกเว้น ไม่จำเป็นต้องขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร. 4) เราไปดูกันดีกว่าว่าตามกฎหมายแล้วโรงงานมีกี่ประเภท แล้วประเภทไหนบ้างที่ต้องขอใบอนุญาต ประเภทของโรงงาน โรงงานจำพวกที่ 1 โรงงานจำพวกที่ 1 คือ โรงงานที่มีขนาดเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า มีการประกอบธุรกิจ หรือดำเนินกิจกรรมภายในโรงงาน ดังนี้ โรงงานฟักไข่โดยใช้ตู้อบ โรงงานทำน้ำตาลจากมะพร้าว โรงงานซ่อมรองเท้า/เครื่องหนัง โรงงานล้างรถยนต์ โรงงานซ่อมนาฬิกา/เครื่องประดับ โรงงานทำเส้นขนมจีน ฯลฯ ซึ่งถือเป็นโรงงานที่ไม่ก่อปัญหามลพิษ ได้รับการละเว้น ไม่ต้องขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.

4) โรงงานจำพวกที่ 2 โรงงานจำพวกที่ 2 เช่น โรงงานผลิตน้ำดื่ม โรงงานผลิตน้ำแข็ง โรงงานทำไอศกรีม โรงงานทำน้ำอัดลม โรงงานแกะสลักไม้ ฯลฯ ซึ่งโรงงานทั้งหมดต้องมีขนาดเครื่องจักรไม่เกิน 75 แรงม้า หรือมีคนงานไม่เกิน 75 คน โรงงานจำพวกที่ 2 นี้ ได้รับการละเว้น ไม่ต้องขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.

  • การ ขอ รง 4.3
  • ใบอนุญาต รง.4
  • การ ขอ รง 4.6

ใบอนุญาต รง.4

4) ก่อนการจัดตั้ง เพราะถือเป็นโรงงานที่อาจก่อให้เกิดปัญหามลพิษ หรืออาจสร้างความเดือดร้อน และต้องควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด พูดง่ายๆ ว่า หากโรงงานที่จะจัดตั้ง มีเครื่องจักรไม่เกิน 50 แรงม้า หรือคนไม่เกิน 50 คน ไม่ต้องขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.

บริษัท คิว คอมแพค จำกัด 21/20 ถนนมาเจริญ แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 โทร 02-812-2204 ฝ่ายขาย 086-355-4512 คุณปุ๊ก

4) เมื่อเตรียมเอกสารต่างๆ ครบถ้วนเรียบร้อยแล้ว ผู้ประกอบการ SME ก็นำเอกสารทั้งหมดไปยื่นคำขออนุญาต เมื่อเจ้าหน้าที่รับเรื่องแล้ว ก็จะทำการตรวจสอบเอกสาร พิจารณาความเหมาะสมของทำเลที่ตั้ง เมื่อพิจารณาจนถี่ถ้วนแล้ว หากคำขอได้รับการอนุมัติ เจ้าหน้าที่ก็จะออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร. 4) ให้ ก็เป็นอันเสร็จ แต่ถ้าคำขอไม่ได้รับการอนุมัติ ผู้ประกอบการมีสิทธิ์ยื่นอุทธรณ์ได้ภายใน 30 วัน ซึ่งสิทธิอุทธรณ์ต่างๆ จะมีรายละเอียดอยู่ในหนังสือแจ้งไม่อนุมัตินั่นเองค่ะ จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าตั้งโรงงานโดยไม่ขออนุญาต? อย่างที่บอกการขออนุญาตจัดตั้งโรงงานนั้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย หากฝ่าฝืน ก่อตั้งโรงงานโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษจำคุก 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200, 000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ส่วนโรงงานจำพวกที่ 2 หากฝ่าฝืน ก่อตั้งโรงงานหรือดำเนินกิจการโดยไม่แจ้งให้เจ้าพนักงานรับทราบ มีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50, 000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เพราะฉะนั้นแล้ว ผู้ประกอบการ SME ที่อยากมีโรงงานเป็นของตัวเอง ควรดำเนินการตามกฎหมาย เพื่อทำธุรกิจให้ราบรื่น ไม่สะดุดจะดีกว่านะคะ หวังว่าคู่มือการขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.

ขั้น ตอน

การ ขอ รง 4.4

4 การต่อใบ รง. 4 เป็นต้นทุนอย่างหนึ่งของผู้ประกอบการ นอกจากต้นทุนค่าใบอนุญาตซึ่งความจริงก็ไม่มากเท่าไรแล้ว ที่สำคัญคือ ต้นทุนที่ไม่ใช่ตัวเงิน เพราะต้องเสียเวลาเตรียมเอกสารจำนวนมาก และขั้นตอนที่ยุ่งยากตามประสาระบบราชการที่ใช้กันมาไม่ต่ำกว่า 30 ปี ปัญหาคือ ใบ รง. 4 เป็นที่มาของต้นทุนที่เป็นเม็ดเงินที่เปิดเผยไม่ได้ คือ ค่าน้ำร้อน น้ำชา แลกกับการอำนวยความสะดวกในการต่ออายุใบอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นกับเรื่องอะไรก็ตาม ที่ต้องขอใบอนุญาตต่อใบอนุญาตขึ้นทะเบียนกับทางราชการ ในยุคประชาธิปไตย รัฐบาลมาจากการเลือกตั้ง ค่าน้ำร้อนน้ำชา ใบ รง. 4 ซึ่งเป็นการกินตามน้ำ ยกระดับขึ้นเป็นการตั้งโต๊ะกินกันเป็นเรื่องเป็นราว เมื่อพรรคการเมืองที่เคยคุมกระทรวงพลังงานย้ายไปคุมกระทรวงอุตสาหกรรม โรงงานไฟฟ้าพลังงานทดแทนที่ได้รับใบอนุญาตจากคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานแล้ว ไม่สามารถเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าได้ เพราะยังไม่มีใบ รง. 4 เนื่องจากมีผู้มีอำนาจไป "ตั้งด่าน" เก็บค่าต๋งใบ รง. 4 ใบหนึ่งหลายสิบล้านบาท ปัญหาการต่อใบ รง. 4 เป็นหนึ่งในความต้องการของผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมมาโดยตลอด ที่ต้องการให้ภาครัฐแก้ไข นอกจากนั้นยังเป็นประเด็นที่ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันเรียกร้องให้ คสช.

การ ขอ รง 4.1

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท. ) เปิดเผยว่า ตลท. เพิกถอนหลักทรัพย์บมจ. ยูเนี่ยนอุตสาหกรรมสิ่งทอ (UT) ในวันที่ 23 มี. ค. 65 ซึ่งเป็นการขอเพิกถอนโดยสมัครใจ ทั้งนี้ UT ได้ขอเพิกถอนหุ้นสามัญของบริษัทจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ นั้น บัดนี้ UT ได้ดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ฯ เรื่องการเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน พ. ศ. 2564 แล้ว อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 171 (4) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ. 2535 ตลาดหลักทรัพย์ฯ จึงสั่งเพิกถอนหุ้นสามัญของ UT จากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม 2565 เป็นต้นไป --อินโฟเควสท์ โดย เสาวลักษณ์ อวยพร/รัชดา โทร. 02-2535000 ต่อ 317 อีเมล์:

การ ขอ รง 4.6

ผลงาน การขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน รง. 4 ลำดับที่ 88 และ 89 รายชื่อบริษัท - บริษัท อี อาร์ อาร์ รีนิวเอเบิล จำกัด จ. นครราชสีมา - บริษัท เอี่ยมรุ่งเรือง รีนิวเอเบิล จำกัด จ. นครราชสีมา - บริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จำกัด (มหาชน) จ. บุรีรัมย์ - บริษัท อุบลแสงอาทิตย์ จำกัด จ. อุบลราชธานี - บริษัท ไอเท็มส์ โซลูชั่น จำกัด จ. พะเยา - บริษัท เทย์แม็กซ์ ไวร์ โรป อินดัสตรี้ คอร์ป จำกัด จ. ปราจีนบุรี

harman-kardon-onyx-studio-5-ราคา