shashankmathur.com

การแปรผลผลิตทางการเกษตร การเกษตร หมายถึง การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ และการสงวนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์ ซึ่งการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์นั้นก่อให้เกิดผลผลิตที่เรานำมาใช้บริโภคในชีวิต ประจำวันและสามารถนำไปจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ตนเอง ครอบครัว รวมทั้งส่งเป็นสินค้า ไปจำหน่วยยังต่างประได้ 1. ความหมายของการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร หมายถึง การนำผลผลิตจากการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์มาเปลี่ยน สภาพด้วยวิธีการต่าง ๆ ให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีรูปร่างลักษณะแตกต่างไปจากเดิม เช่น ข่าวสามารถแปรรูป เป็น แป้ง เส้นก๋วยเตี๋ยว, พืชตระกูลถั่ว แปรรูปเป็น น้ำมันพืช นมถั่วเหลือง ครีมเทียม แป้ง เป็นต้น 2.

  1. ๘. การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - 606150616_จารุวรรณ
  2. 4.การแปรผลผลิตทางการเกษตร - นาถอนงค์ พลตื้อ

๘. การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - 606150616_จารุวรรณ

การฉาบ หมายถึง การทำให้อาหารสุกก่อนแล้วนำมาคลุกเคล้ากับน้ำเชื่อมที่อิ่มตััว น้ำตาลจะเกาะติดเป็นเกล็ดขาวๆ เช่น กล้วยฉาบ เผือกฉาบ มันฉาบ เป็นต้น ๗. การกวน เป็นวิธีการถนอมอาหารโดยการนำเอาผัก ผลไม้ หรือธัญพืชมาผสมกับน้ำตาล ใช้ความร้อนเคี่ยวกวนจนปริมาณน้ำลดน้อยลงและผสมเป็นเนื้อเดียวกัน อาหารชนิดนี้เก็บได้นาน เนื่องจากมีปริมาณน้ำตาลสูง สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ได้ เช่น ทุเรียนกวน เป็นต้น ๘. การทำแยม/เยลลี่ แยม หมายถึง อาหารหวานที่ทำจากเนื้อผลไม้หรือน้ำตาลแต่มีลักษณะเหนียวกว่าการกวน ใช้ทาขนมปังได้ เช่น แยมสับปะรด แยมเปลือกส้ม แยมเชอร์รี่ เป็นต้น เยลลี่ หมายถึง ส่วนประกอบของน้ำผลไม้กับน้ำตาล มีลักษณะใสอ่อนนุ่มคล้ายวุ้นแต่ไม่เหนียวหนืด ไม่เหลว และคงรูปเดิมเมื่อถอดออกจากพิมพ์ เมื่อตัดด้วยมีดจะเป็นเหลี่ยมตามรอยมีด ในขณะเดียวกันยังคงมีความหยุ่นตัวแม้แตะเพียงเบาๆ นอกจากนั้นยังมีกลิ่นรสซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของผลไม้นั้นเหลืออยู่ ๙. การทำน้ำผลไม้ หมายถึง การสกัดของเหลวออกจากผลไม้ ซึ่งประกอบด้วยวิตามินซี และเกลือแร่ อันมีความสำคัญยิ่งต่อร่างกายของมนุษย์ วิตามินที่สำคัญในน้ำผลไม้ คือ วิตามินซี และคาโรทีน ซึ่งเป็นสารกำเนิดของวิตามินเอ เช่น น้ำส้ม น้ำองุ่น เป็นต้น

ตัวอย่างการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร

ล้างไข่เป็ดให้สะอาด สะเด็ดน้ำจนแห้งสนิท ใส่ลงในโหลแก้ว เตรียมไว้ 2. ทำน้ำเกลือสำหรับดองไข่ โดยใส่เกลือกับน้ำลงในหม้อ นำขึ้นตั้งไฟจนเดือด และคนให้เกลือละลายจนหมด ยกลงจากเตา พักทิ้งไว้จนเย็นสนิท 3. เทน้ำเกลือที่เย็นแล้วลงในโหลไข่จนท่วมไข่ จากนั้นใช้ถุงพลาสติกใส่น้ำวางทับลงไปให้ไข่เป็ดจมอยู่ใต้น้ำ ตลอดเวลา ปิดฝาให้สนิท เก็บไว้ในที่ร่ม นานประมาณ 2-3 อาทิตย์ สำหรับทำไข่ดาว เก็บไว้นานประมาณ 2 อาทิตย์ สำหรับทำไข่ต้ม เก็บไว้นานประมาณ 3 อาทิตย์ 1กล้วยน้ำหว้าแก่ 2เกลือป่น 3น้ำ 1. ตัดกล้วยออกเป็นหวี นำวางลงบนใบตอง ปิดทับด้วยใบตองและกระสอบ หรือนำใส่โอ่ง หรือถัง จากนั้นบ่มทิ้งไว้จนกล้วยสุกดี (บ่มจนผลกลมกมน ไม่มีรอยเหลี่ยม และเปลือกตกกระสีดำ) 2. ปลอกเปลือกกล้วยออก เรียงลงบนตะแกรง นำไปตากแดดจนกล้วยเกือบแป้งสนิท นานประมาณ 5 วัน และหมั่นคอยพลิกกลับด้านอยู่เสมอ 3. ก่อนนำกล้วยไปตากแดดในวันที่ 6 ให้ละลายน้ำกับเกลือให้เข้ากัน นำขึ้นตั้งไฟต้มจนเดือด ทิ้งไว้จนเย็น จากนั้นใช้ขวดน้ำคลึงหรือกดกล้วยให้แบน แล้วนำกล้วยลงไปล้างในน้ำเกลือที่เตรียมไว้ จากนั้นนำกล้วยวางเรียงบนตะแกรง นำไปตากแดดอีก 1-2 วัน จนกล้วยแห้งได้ที่ 4.

เมื่อกล้วยแห้งได้ที่แล้ว ใส่กล้วยลงในหม้อ ปิดฝาให้สนิท วางทิ้งไว้ 1 คืน เพื่อให้น้ำตาลจากกล้วยซึมออกมา (กล้วยจะเงาและไม่แห้ง) จากนั้นเก็บใส่ภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด พร้อมรับประทาน การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรจะเห็นได้ว่าสามารถนำผลิตผลทางการเกษตรมาแปรรูปเป็นสินค้าได้ ทำให้ขายได้ราคาสูง ไม่เน่าเสียง่าย ทำให้เศรษฐกิจในชุมชนดีขึ้น ทำให้ชาวบ้านมีรายได้เสริม เศรษฐกิจดีขึ้นจึงทำให้ชุมชนเข้มแข็ง

ตัวอย่างการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรสามารถนำมาแปรรูปได้หลายวิธี เช่น 1. ผลิตภัณฑ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรประเภทพืช เช่น มะม่วงกวน น้ำผลไม้บรรจุขวด 2. ผลิตภัณฑ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรประเภทเนื้อสัตว์ เช่น ลูกชิ้นปลา ลูกชิ้นเนื้อ ไก่ยอ

ดวง ประยุทธ์ จันทร์ โอชา

4.การแปรผลผลิตทางการเกษตร - นาถอนงค์ พลตื้อ

2549–2555) ครัวเรือน 4 จังหวัด มีการกระจายชนิดการผลิตลดลง หรือได้ลดความหลากหลายของประเภท/ชนิดผลผลิตลง หันไปทำการผลิตแบบเฉพาะอย่างมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นผลจากปัจจัยได้หลายด้าน เช่น ความรู้และอายุของสมาชิกครัวเรือน ความพร้อมด้านการเงินและปัจจัยการผลิตของครัวเรือน และการดำเนินนโยบายของภาครัฐ/เอกชน รวมถึงความเหมาะสมของสภาพธรรมชาติและภูมิอากาศ แม้ในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา (พ.

เพื่อช่วยให้สะดวกในการบริโภค เนื่องจากผลผลิตทางเกษตรบางอย่างไม่สามารถบริโภคได้ทันที ต้องแปรรูปก่อนจึงจะบริโภคได้ เช่น ข้าวสาร ถั่วเหลือง ถั่วเขียว เป็นต้น ๘. ๒ หลักการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรทุกชนิด มีหลักในการปฏิบัติ ดังนี้ ๑. ผลผลิตทางการเกษตรที่นำมาแปรรูป จะต้องคัดสรรผลผลิตที่มีคุณภาพ ใหม่ สด สะอาด เพืื่อแปรรูปให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพ ๒. วิธีการแปรรูป จะต้องเลือกวิธีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรตามความนิยมของผู้บริโภค ๓. ต้องรักษาความสะอาดทุกขั้นตอนในการแปรรูปผลผลิต เพื่อป้องกันการปนเปื้อนเชือโรคและสิ่งสกปรก ๔. ป้องกันและยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในอาหาร ๕. รักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไว้ให้มากที่สุด และเสริมสร้างความอร่อยในรสชาติหลังการแปรรูปแล้ว ๖. ต้องคำนึงถึงความประหยัดและความคุ้มค่าต่อเงินทุนและเวลาที่เสียไป ๘. ๓ แนวทางการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร มีหลากหลายวิธี ดังนี้ ๑. การทำแห้ง หมายถึง การทำให้น้ำละเหยออกไปจากอาหารให้มากที่สุดเทาที่จะมากได้ โดยให้มีความชื้นเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย จนจุลินทรีย์ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ โดยการนำไปตากแดด หรืออบในตู้อบความร้อน ผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ทุกชนิดสามารถนำมาทำแห้งได้ เช่น ลำไยแห้ง กล้วยตาก พริกแห้ง ใบชา หมูแดดเดียว กุ้งแห้ง เป็นต้น ๒.

1 ประเภทรากหรือหัว เช่น กระชาย, ข่า, ขิง และ ไพล เป็นต้น ควรเก็บในช่วงที่พืชหยุดการเจริญเติบโต ใบและดอกร่วงหมด หรือเก็บในช่วงต้นฤดูหนาวถึงปลายฤดูร้อน ซึ่งเป็นช่วงที่รากและหัวมีการสะสมปริมาณสารสำคัญไว้ค่อนข้างสูง วิธีเก็บ ใช้วิธีขุดอย่างระมัดระวัง ตัดรากฝอยออก 1. 2 การเก็บเปลือกรากหรือเปลือกต้น เช่น เปลือกต้นของ เปลือกสีเสียด เปลือกทับทิม มักเก็บ ในช่วงระหว่างฤดูร้อนต่อกับฤดูฝน ซึ่งมีปริมาณสารสำคัญในเปลือกจะสูง และเปลือกลอกออกง่าย ส่วนเปลือกรากควรเก็บในช่วงต้นฤดูฝนเพราะจะลอกได้ง่าย วิธีเก็บ การลอกเปลือกต้นอย่าลอกออกรอบทั้งต้นควรลอกออกจากส่วนกิ่งหรือแขนงย่อยหรือใช้วิธีลอกออกในลักษณะครึ่งวงกลมก็ได้ เพื่อไม่ให้กระทบกระเทือนต่อระบบการลำเลียงอาหารของพืช และไม่ควรลอกส่วนลำต้นใหญ่ของต้นซึ่งอาจทำให้พืชตายได้ 1. 3ประเภทใบหรือเก็บทั้งต้น เช่น กะเพรา ฟ้าทะลายโจร ชุมเห็ดเทศ ควรเก็บในช่วงที่พืชเจริญเติบโตมากที่สุด บางชนิดจะระบุช่วงเวลาที่เก็บ ซึ่งช่วงเวลานั้นใบมีสารสำคัญมากที่สุด เช่น เก็บใบแก่ หรือใบไม่อ่อนไม่แก่เกินไป (ใบเพสลาด) เป็นต้น วิธีเก็บ ใช้วิธีเด็ดหรือตัด 1. 4ประเภทดอก เช่น ดอกคำฝอย ดอกเบญจมาศโดยทั่วไปเก็บในช่วงดอกเริ่มบาน แต่บางชนิด ก็ระบุว่าให้เก็บในช่วงที่ดอกยังตูมอยู่ เช่น กานพลู เป็นต้น วิธีเก็บ ใช้วิธีเด็ดหรือตัด 1.

การทำเค็ม หมายถึง การถนอมอาหารโดยใช้เกลือเป็นวัตถุกันเสียในการเก็บรักษาอาหารให้คงทน อยู่ได้นาน โดยไม่บูดเสีย อาจใช้สารเคมีบางอย่างเข้ามาช่วยในการแต่งปรุงรสได้ เช่น หัวผักกาดเค็ม กะหล่ำปลีเค็ม ตั้งฉ่าย เกี้ยมไฉ่ เต้าเจี้ยว ปลาเค็ม เป็นต้น ๓. การหมักดอง เป็นการถนอมอาหารโดยใช้ความเข้มข้นของเกลือ น้ำส้ม และน้ำตาล ควมคุมการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ โดยการจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อการเจริญเติบโตของจุลินทร์บางชนิดที่ผลิตกรดแลกติก และป้องกันไม่ให้จุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารบูดเน่า เจริญเติบโตในการถนอมอาหารชนิดนี้ ตัวอย่างการหมักดอง เช่น การดองผักต่างๆ แหนม มะนาวดอง เป็นต้น ๔. การเชื่อม เป็นการเพิ่มปริมาณน้ำตาลในอาหารให้สูงขึ้นโดยใช้ความร้อนทำให้อาหารสุกและน้ำตาลซึมผ่านเข้าไปในเนื้ออาหาร อาหารจะไม่เหี่ยวย่น และเก็บไว้ได้นาน น้ำตาลจะเป็นสารถนอมอาหารที่ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ เช่น มะตูมเชื่อม เป็นต้น ๕. การแช่อิ่ม เป็นการถนอมอาหารโดยค่อยๆ เพิ่มน้ำตาลเข้าไปในเนื้ออาหารจนกระทั่งอาหารนั้นอิ่มตัวด้วยน้ำตาล ทำให้สภาพของอาหารไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ผัก ผลไม้แช่อิ่ม จึงสามารถเก็บได้นาน เช่น มะม่วงแช่อิ่ม มะเฟืองแช่อิ่ม มะยมแช่อิ่ม เป็นต้น ๖.

  1. 7 วิถีเกษตรนวัตกรรม สร้างอาชีพคนคืนถิ่น
  2. รองเท้า นักเรียน gold city 2
  3. วิธีการ ผูกหูกระต่าย (Bow Tie): 14 ขั้นตอน (พร้อมรูปภาพ) - wikiHow

การทำเค็ม หมายถึง การถนอมอาหารโดยใช้เกลือเป็นวัตถุกันเสียในการเก็บรักษาอาหารให้คงทน อยู่ได้นาน โดยไม่บูดเสีย อาจใช้สารเคมีบางอย่างเข้ามาช่วยในการแต่งปรุงรสได้ เช่น หัวผักกาดเค็ม กะหล่ำปลีเค็ม ตั้งฉ่าย เกี้ยมไฉ่ เต้าเจี้ยว ปลาเค็ม เป็นต้น ๓. การหมักดอง เป็นการถนอมอาหารโดยใช้ความเข้มข้นของเกลือ น้ำส้ม และน้ำตาล ควมคุมการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ โดยการจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อการเจริญเติบโตของจุลินทร์บางชนิดที่ผลิตกรดแลกติก และป้องกันไม่ให้จุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารบูดเน่า เจริญเติบโตในการถนอมอาหารชนิดนี้ ตัวอย่างการหมักดอง เช่น การดองผักต่างๆ แหนม มะนาวดอง เป็นต้น ๔. การเชื่อม เป็นการเพิ่มปริมาณน้ำตาลในอาหารให้สูงขึ้นโดยใช้ความร้อนทำให้อาหารสุกและน้ำตาลซึมผ่านเข้าไปในเนื้ออาหาร อาหารจะไม่เหี่ยวย่น และเก็บไว้ได้นาน น้ำตาลจะเป็นสารถนอมอาหารที่ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ เช่น มะตูมเชื่อม เป็นต้น ๕. การแช่อิ่ม เป็นการถนอมอาหารโดยค่อยๆ เพิ่มน้ำตาลเข้าไปในเนื้ออาหารจนกระทั่งอาหารนั้นอิ่มตัวด้วยน้ำตาล ทำให้สภาพของอาหารไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ผัก ผลไม้แช่อิ่ม จึงสามารถเก็บได้นาน เช่น มะม่วงแช่อิ่ม มะเฟืองแช่อิ่ม มะยมแช่อิ่ม เป็นต้น ๖.

  1. เครื่องขัดลม 6 นิ้ว
  2. ละคร ละออง ดาว
  3. ความ หมาย ดาว
  4. ทาวน์ โฮม บางนา ศรีนครินทร์
  5. มาร์เก็ตติ้ง แปลว่า
  6. ซอสพริกสุขุม
  7. Nmax 2018 ตาราง ผ่อน 3
  8. ทิม แฟน ต่า ย ครา ฟ
  9. ร้าน บน เม ญ่า
  10. โปรแกรม วัน ลา excel vba
  11. คาร์บอน ลายหินอ่อน
  12. ออกซิเจน เซ็นเซอร์ วี ออ ส ราคา มือสอง
  13. คํา รร
ทะเล-ใน-ระยอง